การนอนกัดฟันคืออะไร?

เป็นอาการหนึ่งของผู้ที่มีความผิดปกติด้านการบดเคี้ยว หรือมีปัญหาการทำงานของกระดูกขากรรไกร นอกจากจะมี ปัญหากับคนที่นอนข้างๆ หรือเพื่อนร่วมห้องแล้ว การนอนกัดฟัน ยังก่อให้เกิดปัญหากับตัวเองด้วย ปัญหาดังกล่าวได้แก่ อาการฟันสึก ในบางรายมีอาการฟันสึกจนถึงชั้นเนื้อฟัน เห็นเนื้อฟันสีเหลืองเข้ม และมีอาการเสียวฟันเวลาที่ดื่มน้ำร้อน หรือ น้ำเย็น นอกจากอาการฟันสึกแล้วยังมีอาการปวดที่บริเวณข้อต่อกระดูกขากรรไกร ในเวลาที่ตื่นนอนตอนเช้าจะรู้สึกเจ็บปวดที่บริเวณข้อต่อขากรรไกร หรือเวลาที่บดเคี้ยวอาหารก็จะรู้สึกเจ็บปวดได้

สาเหตุของการนอนกัดฟัน

1.

จากสภาพฟัน อาจมีจุดสูงที่อยู่บนตัวฟัน ที่อาจเกิดจากวัสดุอุดฟัน มีการเรียงตัวของฟันที่ผิดปกติ ฟันซ้อนเก หรือเป็นโรคปริทันต์ หรือในคนไข้ที่สูญเสียฟันแท้ไป โดยที่ไม่ได้ใส่ฟันปลอมทดแทน ซึ่งถ้ามีจุดสูงหรือจุดขัดขวางการบดเคี้ยว โดยธรรมชาติของคนเราจะพยายามกำจัดจุดสูงหรือจุดขัดขวางการบดเคี้ยว โดยพยายามบดเคี้ยวให้จุดสูงนั้นหมดไป มักจะเกิดในเวลาที่เรานอนหลับ ซึ่งเป็นเวลาที่เราไม่รู้สึกตัว

2.

สภาพของจิตใจ การดำเนินชีวิตประจำวันอาจมีความเครียด เนื่องจากความเร่งรีบในการทำงานก็เป็นสาเหตุที่ให้เรานอนกัดฟันในเวลานอน โดยเราไม่รู้สึกตัวได้

3.

เกิดจากอาหารบางชนิด จากการศึกษายังพบว่าเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน (ชา กาแฟ น้ำอัดลมบางชนิด เป็นต้น) เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่ สารเสพติด และยาที่ใช้รักษาโรคบางตัวเช่น แอมเฟตามีนที่ใช้ร่วมกับ L-dopa หรือยาเฟนฟลูรามีน (Fenfluramine) ซึ่งได้มาจากแอมเฟตามีน หรือผู้ที่ใช้ยาฟีโนเธียซีน (Phenothiazine) เป็นเวลานาน มีความสัมพันธ์ในการเพิ่มระดับการกัดฟันด้วย

“รู้ได้อย่างไรว่ามีอาการนอนกัดฟัน”

อาการนอนกัดฟันสำหรับคนส่วนใหญ่แล้ว มักเป็นอาการที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัว จนกระทั่งทราบจากผู้อื่นที่นอนอยู่ด้วยกันว่า ระหว่างการนอนตนเองได้สร้างเสียงกัดฟันอันน่ารำคาญให้กับคนรอบข้าง แต่สำหรับคนไข้บางคนจะรับรู้จากการตรวจฟันเป็นประจำ และทันตแพทย์พบว่าฟันของเขาสึกหรือสารเคลือบฟันถูกทำลายไป

สัญญาณอื่นๆ ของโรคนอนกัดฟัน อาจรวมไปถึงอาการปวดที่ใบหน้า ศีรษะ และต้นคอ ทันตแพทย์สามารถวินิจฉัยได้อย่างแม่นยำและจะชี้ชัดได้ว่าสาเหตุของอาการปวดใบหน้าว่าเป็นผลมาจากโรคนอนกัดฟันหรือไม่

เริ่มต้นรักษาอาการนอนกัดฟัน

คำถามที่พบบ่อย : การนอนกัดฟัน

Q : การนอนกัดฟัน ส่งผลกระทบอย่างไรบ้าง?

A : การนอนกัดฟัน ส่งผลทำให้ฟันสึก ในบางรายมีอาการฟันสึกจนถึงชั้นเนื้อฟัน เห็นเนื้อฟันสีเหลืองเข้ม และมีอาการเสียวฟันเวลาที่ดื่มน้ำร้อน หรือ น้ำเย็น สามารถแก้ไขปัญหาการนอนกัดฟันได้ โดยปรึกษาทันตแพทย์เพื่อวินิฉัยถึงสาเหตุของการนอนกัดฟัน

Q : สาเหตุของการนอนกัดฟัน มีอะไรบ้าง?

A : เกิดจากสภาพฟัน อาจมีจุดสูงที่อยู่บนตัวฟัน ที่อาจเกิดจากวัสดุอุดฟัน มีการเรียงตัวของฟันที่ผิดปกติ ฟันซ้อนเก, สภาพของจิตใจ การดำเนินชีวิตประจำวันอาจมีความเครียด หรือ อาหารบางชนิด เช่น เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน (ชา กาแฟ น้ำอัดลมบางชนิด เป็นต้น) เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่ สารเสพติด และยาที่ใช้รักษาโรคบางตัว

Q : การนอนกัดฟัน มีวิธีรักษาอย่างไรบ้าง?

A : วิธีการรักษาที่เหมาะสมในแต่ละบุคคลนั้นขึ้นอยู่กับสาเหตุของโรคนี้ โดยส่วนใหญ่แล้วทันตแพทย์จะแนะนำให้ใส่เฝือกสบฟันเพื่อลดการสึกของฟัน ใส่เฉพาะในเวลานอนตอนกลางคืนเท่านั้น แล้วทันตแพทย์จะนัดมาตรวจเป็นระยะ ๆ

การนอนกัดฟันคืออะไร?

เป็นอาการหนึ่งของผู้ที่มีความผิดปกติด้านการบดเคี้ยว หรือมีปัญหาการทำงานของกระดูกขากรรไกร นอกจากจะมี ปัญหากับคนที่นอนข้างๆ หรือเพื่อนร่วมห้องแล้ว การนอนกัดฟัน ยังก่อให้เกิดปัญหากับตัวเองด้วย ปัญหาดังกล่าวได้แก่ อาการฟันสึก ในบางรายมีอาการฟันสึกจนถึงชั้นเนื้อฟัน เห็นเนื้อฟันสีเหลืองเข้ม และมีอาการเสียวฟันเวลาที่ดื่มน้ำร้อน หรือ น้ำเย็น นอกจากอาการฟันสึกแล้วยังมีอาการปวดที่บริเวณข้อต่อกระดูกขากรรไกร ในเวลาที่ตื่นนอนตอนเช้าจะรู้สึกเจ็บปวดที่บริเวณข้อต่อขากรรไกร หรือเวลาที่บดเคี้ยวอาหารก็จะรู้สึกเจ็บปวดได้

สาเหตุของการนอนกัดฟัน

1.

จากสภาพฟัน อาจมีจุดสูงที่อยู่บนตัวฟัน ที่อาจเกิดจากวัสดุอุดฟัน มีการเรียงตัวของฟันที่ผิดปกติ ฟันซ้อนเก หรือเป็นโรคปริทันต์ หรือในคนไข้ที่สูญเสียฟันแท้ไป โดยที่ไม่ได้ใส่ฟันปลอมทดแทน ซึ่งถ้ามีจุดสูงหรือจุดขัดขวางการบดเคี้ยว โดยธรรมชาติของคนเราจะพยายามกำจัดจุดสูงหรือจุดขัดขวางการบดเคี้ยว โดยพยายามบดเคี้ยวให้จุดสูงนั้นหมดไป มักจะเกิดในเวลาที่เรานอนหลับ ซึ่งเป็นเวลาที่เราไม่รู้สึกตัว

2.

สภาพของจิตใจ การดำเนินชีวิตประจำวันอาจมีความเครียด เนื่องจากความเร่งรีบในการทำงานก็เป็นสาเหตุที่ให้เรานอนกัดฟันในเวลานอน โดยเราไม่รู้สึกตัวได้

3.

เกิดจากอาหารบางชนิด จากการศึกษายังพบว่าเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน (ชา กาแฟ น้ำอัดลมบางชนิด เป็นต้น) เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่ สารเสพติด และยาที่ใช้รักษาโรคบางตัวเช่น แอมเฟตามีนที่ใช้ร่วมกับ L-dopa หรือยาเฟนฟลูรามีน (Fenfluramine) ซึ่งได้มาจากแอมเฟตามีน หรือผู้ที่ใช้ยาฟีโนเธียซีน (Phenothiazine) เป็นเวลานาน มีความสัมพันธ์ในการเพิ่มระดับการกัดฟันด้วย

“รู้ได้อย่างไรว่ามีอาการนอนกัดฟัน”

อาการนอนกัดฟันสำหรับคนส่วนใหญ่แล้ว มักเป็นอาการที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัว จนกระทั่งทราบจากผู้อื่นที่นอนอยู่ด้วยกันว่า ระหว่างการนอนตนเองได้สร้างเสียงกัดฟันอันน่ารำคาญให้กับคนรอบข้าง แต่สำหรับคนไข้บางคนจะรับรู้จากการตรวจฟันเป็นประจำ และทันตแพทย์พบว่าฟันของเขาสึกหรือสารเคลือบฟันถูกทำลายไป

สัญญาณอื่นๆ ของโรคนอนกัดฟัน อาจรวมไปถึงอาการปวดที่ใบหน้า ศีรษะ และต้นคอ ทันตแพทย์สามารถวินิจฉัยได้อย่างแม่นยำและจะชี้ชัดได้ว่าสาเหตุของอาการปวดใบหน้าว่าเป็นผลมาจากโรคนอนกัดฟันหรือไม่

เริ่มต้นรักษาอาการนอนกัดฟัน

คำถามที่พบบ่อย : การนอนกัดฟัน

Q : การนอนกัดฟัน ส่งผลกระทบอย่างไรบ้าง?

A : การนอนกัดฟัน ส่งผลทำให้ฟันสึก ในบางรายมีอาการฟันสึกจนถึงชั้นเนื้อฟัน เห็นเนื้อฟันสีเหลืองเข้ม และมีอาการเสียวฟันเวลาที่ดื่มน้ำร้อน หรือ น้ำเย็น สามารถแก้ไขปัญหาการนอนกัดฟันได้ โดยปรึกษาทันตแพทย์เพื่อวินิฉัยถึงสาเหตุของการนอนกัดฟัน

Q : สาเหตุของการนอนกัดฟัน มีอะไรบ้าง?

A : เกิดจากสภาพฟัน อาจมีจุดสูงที่อยู่บนตัวฟัน ที่อาจเกิดจากวัสดุอุดฟัน มีการเรียงตัวของฟันที่ผิดปกติ ฟันซ้อนเก, สภาพของจิตใจ การดำเนินชีวิตประจำวันอาจมีความเครียด หรือ อาหารบางชนิด เช่น เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน (ชา กาแฟ น้ำอัดลมบางชนิด เป็นต้น) เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่ สารเสพติด และยาที่ใช้รักษาโรคบางตัว

Q : การนอนกัดฟัน มีวิธีรักษาอย่างไรบ้าง?

A : วิธีการรักษาที่เหมาะสมในแต่ละบุคคลนั้นขึ้นอยู่กับสาเหตุของโรคนี้ โดยส่วนใหญ่แล้วทันตแพทย์จะแนะนำให้ใส่เฝือกสบฟันเพื่อลดการสึกของฟัน ใส่เฉพาะในเวลานอนตอนกลางคืนเท่านั้น แล้วทันตแพทย์จะนัดมาตรวจเป็นระยะ ๆ

การนอนกัดฟันคืออะไร?

เป็นอาการหนึ่งของผู้ที่มีความผิดปกติด้านการบดเคี้ยว หรือมีปัญหาการทำงานของกระดูกขากรรไกร นอกจากจะมี ปัญหากับคนที่นอนข้างๆ หรือเพื่อนร่วมห้องแล้ว การนอนกัดฟัน ยังก่อให้เกิดปัญหากับตัวเองด้วย ปัญหาดังกล่าวได้แก่ อาการฟันสึก ในบางรายมีอาการฟันสึกจนถึงชั้นเนื้อฟัน เห็นเนื้อฟันสีเหลืองเข้ม และมีอาการเสียวฟันเวลาที่ดื่มน้ำร้อน หรือ น้ำเย็น นอกจากอาการฟันสึกแล้วยังมีอาการปวดที่บริเวณข้อต่อกระดูกขากรรไกร ในเวลาที่ตื่นนอนตอนเช้าจะรู้สึกเจ็บปวดที่บริเวณข้อต่อขากรรไกร หรือเวลาที่บดเคี้ยวอาหารก็จะรู้สึกเจ็บปวดได้

สาเหตุของการนอนกัดฟัน

1.

จากสภาพฟัน อาจมีจุดสูงที่อยู่บนตัวฟัน ที่อาจเกิดจากวัสดุอุดฟัน มีการเรียงตัวของฟันที่ผิดปกติ ฟันซ้อนเก หรือเป็นโรคปริทันต์ หรือในคนไข้ที่สูญเสียฟันแท้ไป โดยที่ไม่ได้ใส่ฟันปลอมทดแทน ซึ่งถ้ามีจุดสูงหรือจุดขัดขวางการบดเคี้ยว โดยธรรมชาติของคนเราจะพยายามกำจัดจุดสูงหรือจุดขัดขวางการบดเคี้ยว โดยพยายามบดเคี้ยวให้จุดสูงนั้นหมดไป มักจะเกิดในเวลาที่เรานอนหลับ ซึ่งเป็นเวลาที่เราไม่รู้สึกตัว

2.

สภาพของจิตใจ การดำเนินชีวิตประจำวันอาจมีความเครียด เนื่องจากความเร่งรีบในการทำงานก็เป็นสาเหตุที่ให้เรานอนกัดฟันในเวลานอน โดยเราไม่รู้สึกตัวได้

3.

เกิดจากอาหารบางชนิด จากการศึกษายังพบว่าเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน (ชา กาแฟ น้ำอัดลมบางชนิด เป็นต้น) เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่ สารเสพติด และยาที่ใช้รักษาโรคบางตัวเช่น แอมเฟตามีนที่ใช้ร่วมกับ L-dopa หรือยาเฟนฟลูรามีน (Fenfluramine) ซึ่งได้มาจากแอมเฟตามีน หรือผู้ที่ใช้ยาฟีโนเธียซีน (Phenothiazine) เป็นเวลานาน มีความสัมพันธ์ในการเพิ่มระดับการกัดฟันด้วย

“รู้ได้อย่างไรว่ามีอาการนอนกัดฟัน”

อาการนอนกัดฟันสำหรับคนส่วนใหญ่แล้ว มักเป็นอาการที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัว จนกระทั่งทราบจากผู้อื่นที่นอนอยู่ด้วยกันว่า ระหว่างการนอนตนเองได้สร้างเสียงกัดฟันอันน่ารำคาญให้กับคนรอบข้าง แต่สำหรับคนไข้บางคนจะรับรู้จากการตรวจฟันเป็นประจำ และทันตแพทย์พบว่าฟันของเขาสึกหรือสารเคลือบฟันถูกทำลายไป

สัญญาณอื่นๆ ของโรคนอนกัดฟัน อาจรวมไปถึงอาการปวดที่ใบหน้า ศีรษะ และต้นคอ ทันตแพทย์สามารถวินิจฉัยได้อย่างแม่นยำและจะชี้ชัดได้ว่าสาเหตุของอาการปวดใบหน้าว่าเป็นผลมาจากโรคนอนกัดฟันหรือไม่

เริ่มต้นรักษาอาการนอนกัดฟัน

คำถามที่พบบ่อย : การนอนกัดฟัน

Q : การนอนกัดฟัน ส่งผลกระทบอย่างไรบ้าง?

A : การนอนกัดฟัน ส่งผลทำให้ฟันสึก ในบางรายมีอาการฟันสึกจนถึงชั้นเนื้อฟัน เห็นเนื้อฟันสีเหลืองเข้ม และมีอาการเสียวฟันเวลาที่ดื่มน้ำร้อน หรือ น้ำเย็น สามารถแก้ไขปัญหาการนอนกัดฟันได้ โดยปรึกษาทันตแพทย์เพื่อวินิฉัยถึงสาเหตุของการนอนกัดฟัน

Q : สาเหตุของการนอนกัดฟัน มีอะไรบ้าง?

A : เกิดจากสภาพฟัน อาจมีจุดสูงที่อยู่บนตัวฟัน ที่อาจเกิดจากวัสดุอุดฟัน มีการเรียงตัวของฟันที่ผิดปกติ ฟันซ้อนเก, สภาพของจิตใจ การดำเนินชีวิตประจำวันอาจมีความเครียด หรือ อาหารบางชนิด เช่น เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน (ชา กาแฟ น้ำอัดลมบางชนิด เป็นต้น) เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่ สารเสพติด และยาที่ใช้รักษาโรคบางตัว

Q : การนอนกัดฟัน มีวิธีรักษาอย่างไรบ้าง?

A : วิธีการรักษาที่เหมาะสมในแต่ละบุคคลนั้นขึ้นอยู่กับสาเหตุของโรคนี้ โดยส่วนใหญ่แล้วทันตแพทย์จะแนะนำให้ใส่เฝือกสบฟันเพื่อลดการสึกของฟัน ใส่เฉพาะในเวลานอนตอนกลางคืนเท่านั้น แล้วทันตแพทย์จะนัดมาตรวจเป็นระยะ ๆ

สำหรับผู้ที่สนใจการจัดฟัน และการทันตกรรมเพื่อความงามในราคาสมเหตุสมผล คลินิกทันตกรรม Denta-joy คือผู้เชี่ยวชาญด้านนี้โดยเฉพาะ เราพร้อมให้คำปรึกษาและรักษาโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่

Line Official: @dentajoy
โทร 095-491-8659