ทันตกรรมโรคเหงือก_โรคเหงือกอักเสบ_โรคปริทันต์_periodontics

โรคเหงือกคืออะไร

โรคเหงือกเป็นโรคที่เกิดขึ้นจากการอักเสบติดเชื้อของเหงือก ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อกระดูก และเนื้อเยื่อปริทันต์รอบๆ ที่ช่วยพยุงฟัน โรคเหงือกนี้เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่เกิดจากคราบพลัค (แผ่นคราบจุลินทรีย์ซึ่งมีลักษณะเหมือนแผ่นฟิล์มเหนียวไร้สีที่ค่อยๆ เกาะรวมตัวกันบนผิวฟัน) ถ้าการแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันไม่ถูกวิธีและไม่สามารถขจัดคราบพลัคออกได้หมด คราบพลัคจะเริ่มก่อตัวขึ้น และสร้างเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดการอักเสบของเหงือกและฟัน รวมถึงเนื้อเยื่อเหงือกและกระดูกที่ช่วยพยุงฟัน ซึ่งอาการเหล่านี้จะทำให้เกิดอาการฟันโยก ฟันหลุด หรือถูกถอนฟันออกในที่สุด

สาเหตุของโรคเหงือก

ทันตกรรมโรคเหงือก

สาเหตุของโรคเหงือก

สาเหตุเบื้องต้น คือ เชื้อแบคทีเรียบางชนิดที่มีอยู่ในช่องปากซึ่งเจริญเติบโตเพิ่มจำนวนขึ้นในสภาวะที่เหมาะสม กล่าวคือการมีคราบอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาลที่เกาะบนผิวฟัน และจากการที่เราทำความสะอาดฟันไม่ดีพอ ทำให้คราบอาหารเหล่านี้กลายเป็นอาหารของแบคทีเรีย ทำให้แบคทีเรียเจริญเติบโตและเพิ่มจำนวนขึ้นแผ่กระจายไปบนผิวฟัน ที่เราเรียกกันว่า แผ่นคราบจุลินทรีย์ แบคทีเรียพวกนี้เมื่อมีการบริโภคอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาลเข้าไปจะปล่อยกรดและสารพิษออกมา เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาการอักเสบ ผลคือทำให้เหงือกบวมแดงอักเสบและมีเลือดออก ทำให้เกิดการทำลายอวัยวะปริทันต์ แผ่นคราบจุลินทรีย์ไม่เพียงแต่จะมีอยู่แค่บนตัวฟันที่อยู่เหนือขอบเหงือกเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นในส่วนใต้ขอบเหงือกที่เรามองไม่เห็นด้วย ส่วนนี้เองที่ทำให้เกิดโรคปริทันต์ลงสู่กระดูกเบ้าฟัน ผลคือทำให้กระดูกเบ้าฟันละลาย ทำให้ร่องเหงือกลึกลงไปเรื่อยๆ ส่งผลให้ฟันเริ่มโยกและก่อให้เกิดหนองในร่องปริทันต์ ทำให้รู้สึกเจ็บเหงือกและอาจมีอาการปวดเมื่อเคาะที่ตัวฟัน ถ้าปล่อยทิ้งไว้ไม่ทำการรักษา เหงือกและกระดูกเบ้าฟันจะถูกทำลายลงเรื่อยๆ จนในที่สุดก็อาจจะต้องสูญเสียฟันซี่นั้นไป เนื่องจากสูญเสียอวัยวะรอบฟันที่ช่วยในการยึดเกาะฟันไว้กับขากรรไกร
ซึ่งเมื่อใช้ทั้ง 3 องค์ประกอบนี้อย่างลงตัวแล้วจะทำให้ได้รักษาได้เร็วมากขึ้น พบทันตแพทย์น้อยครั้งลง รู้สึกได้ถึงความสบายที่มากขึ้น และยังได้รับผลการรักษาที่น่าพึงพอใจอีกด้วย

สัญญาณของโรคเหงือก

ทันตกรรมโรคเหงือก

สัญญาณของโรคเหงือก

โรคเหงือกสามารถเกิดได้กับคนทุกวัย แต่จะพบมากในวัยผู้ใหญ่ ถ้าตรวจพบตั้งแต่ระยะแรกเริ่ม ก็จะสามารถรักษาให้เหงือกกลับมาแข็งแรงดังเดิมได้ หากคุณมีอาการดังต่อไปนี้ ควรรีบไปพบทันตแพทย์โดยด่วน

  • มีภาวะเหงือกแดง หรือ บวม 
  • อาการเลือดออกขณะแปรงฟัน หรือใช้ไหมขัดฟัน
  • ฟันดูยาวมากขึ้นจากปกติที่เคยเป็น เนื่องจากเหงือกร่นลงมา
  • มีร่องระหว่างตัวฟันกับเหงือก
  • เมื่อเคี้ยวอาหารแล้วฟันไม่สบฟันกันเหมือนเดิม
  • มีหนองไหลออกมาจากบริเวณฟันและเหงือก
  • มีกลิ่นปากรุนแรง โดยที่ไม่พบว่ามีฟันผุ

เริ่มต้นการรักษา
ทันตกรรมโรคเหงือก

ขั้นตอนการรักษาโรคเหงือก

  1. การรักษาจะต้องมีการขูดหินปูน และเกลารากฟัน (root planing) ร่วมด้วย โดยจะขูดหินปูนทั้งบนตัวฟันและส่วนที่อยู่บนผิวรากฟันภายในร่องปริทันต์ ส่วนการเกลารากฟันคือการทำให้ผิวรากฟันเรียบเพื่อให้เนื้อเยื่อเหงือกสามารถกลับมายึดแน่นติดกับผิวรากฟันได้เหมือนเดิม ซึ่งขั้นตอนนี้จะต้องทำซ้ำหลายๆ ครั้ง
  2. หลังจากรักษาเสร็จแล้วประมาณ 4-6 สัปดาห์ ทันตแพทย์จะเรียกกลับมาดูอาการอีกครั้งว่าหายดีหรือไม่ ถ้ายังมีร่องลึกปริทันต์เหลืออยู่หรือมีการละลายของกระดูกไปมาก อาจจำเป็นต้องใช้วิธีผ่าตัดเหงือก (Periodontal Surgery) ร่วมด้วย
  3. ท่านจะต้องทำความสะอาดฟันและซอกฟันอย่างถูกวิธีและสม่ำเสมอด้วยตนเอง อย่างน้อยจะต้องใช้แปรงและไหมขัดฟันทุกวันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เพื่อที่จะขจัดคราบจุลินทรีย์ให้หมดทุกวัน
  4. พบทันตแพทย์ทุก 6 เดือน เพื่อตรวจดูว่ามีคราบจุลินทรีย์และหินปูนหลงเหลือจากการทำความสะอาดเองหรือไม่ เพื่อที่จะได้รับการรักษาในระยะแรก

“เราจะป้องกันโรคเหงือกได้อย่างไร”

การดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันที่ดีเป็นสิ่งสำคัญ การทำความสะอาดโดยผู้เชี่ยวชาญก็เป็นสิ่งสำคัญเช่นกัน เมื่อมีการสะสมตัวของคราบแบคทีเรียที่มากและแข็งจนกลายเป็นหินปูน มีเพียงทันตแพทย์เท่านั้นที่จะขจัดออกได้ แต่เราสามารถป้องกันโรคเหงือกอักเสบด้วยตัวเองได้โดย

  • การแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันอย่างถูกวิธีเพื่อขจัดคราบแบคทีเรียไม่ให้สะสม
  • การรับประทานอาหารที่ถูกโภชนาการสำหรับฟันและกระดูก
  • การหลีกเลี่ยงบุหรี่ และยาสูบ
  • การพบทันตแพทย์เป็นประจำทุกๆ 6 เดือน

คำถามที่พบบ่อย : ทันตกรรมโรคเหงือก

Q : โรคเหงือกอักเสบคืออะไร

A : โรคเหงือกเป็นโรคที่เกิดขึ้นจากการอักเสบติดเชื้อของเหงือก ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อกระดูกและเนื้อเยื่อปริทันต์รอบๆตัวฟันและรากฟัน ที่ทำหน้าที่ช่วยพยุงฟัน ซึ่งอาการเหล่านี้จะทำให้เกิดอาการฟันโยก ฟันหลุด มีกลิ่นปาก หรือถูกถอนฟันออกในที่สุด

Q : เราจะรู้ว่าเป็นโรคเหงือกอักเสบได้อย่างไร

A : อาการที่พบมากในโรคนี้คือ การบวมแดงของเหงือก อาจมีเลือดออกขณะแปรงฟัน เหงือกร่นจากตัวฟันทำให้ฟันยาวขึ้น เหงือกบวม โรคเหงือกอักเสบและเหงือกร่น สามารถทำให้เกิดช่องว่างระหว่างเหงือกกับฟันซึ่งเป็นที่สะสมของหินปูนและเศษอาหารได้ บางรายอาจมีกลิ่นปากหรือมีรสแปลกๆ ในปาก

Q : เราจะป้องกันโรคเหงือกได้อย่างไร

A : เราสามารถป้องกันโรคเหงือกอักเสบด้วยตัวเองได้โดย

  • การแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันอย่างถูกวิธีเพื่อขจัดคราบแบคทีเรียไม่ให้สะสม
  • การรับประทานอาหารที่ถูกโภชนาการสำหรับฟันและกระดูก
  • การหลีกเลี่ยงบุหรี่ และยาสูบ
  • การพบทันตแพทย์เป็นประจำทุกๆ 6 เดือน

โรคเหงือกคืออะไร

โรคเหงือกเป็นโรคที่เกิดขึ้นจากการอักเสบติดเชื้อของเหงือก ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อกระดูก และเนื้อเยื่อปริทันต์รอบๆ ที่ช่วยพยุงฟัน โรคเหงือกนี้เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่เกิดจากคราบพลัค (แผ่นคราบจุลินทรีย์ซึ่งมีลักษณะเหมือนแผ่นฟิล์มเหนียวไร้สีที่ค่อยๆ เกาะรวมตัวกันบนผิวฟัน) ถ้าการแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันไม่ถูกวิธีและไม่สามารถขจัดคราบพลัคออกได้หมด คราบพลัคจะเริ่มก่อตัวขึ้น และสร้างเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดการอักเสบของเหงือกและฟัน รวมถึงเนื้อเยื่อเหงือกและกระดูกที่ช่วยพยุงฟัน ซึ่งอาการเหล่านี้จะทำให้เกิดอาการฟันโยก ฟันหลุด หรือถูกถอนฟันออกในที่สุด

สาเหตุของโรคเหงือก

ทันตกรรมโรคเหงือก

สาเหตุของโรคเหงือก

สาเหตุเบื้องต้น คือ เชื้อแบคทีเรียบางชนิดที่มีอยู่ในช่องปากซึ่งเจริญเติบโตเพิ่มจำนวนขึ้นในสภาวะที่เหมาะสม กล่าวคือการมีคราบอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาลที่เกาะบนผิวฟัน และจากการที่เราทำความสะอาดฟันไม่ดีพอ ทำให้คราบอาหารเหล่านี้กลายเป็นอาหารของแบคทีเรีย ทำให้แบคทีเรียเจริญเติบโตและเพิ่มจำนวนขึ้นแผ่กระจายไปบนผิวฟัน ที่เราเรียกกันว่า แผ่นคราบจุลินทรีย์ แบคทีเรียพวกนี้เมื่อมีการบริโภคอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาลเข้าไปจะปล่อยกรดและสารพิษออกมา เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาการอักเสบ ผลคือทำให้เหงือกบวมแดงอักเสบและมีเลือดออก ทำให้เกิดการทำลายอวัยวะปริทันต์ แผ่นคราบจุลินทรีย์ไม่เพียงแต่จะมีอยู่แค่บนตัวฟันที่อยู่เหนือขอบเหงือกเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นในส่วนใต้ขอบเหงือกที่เรามองไม่เห็นด้วย ส่วนนี้เองที่ทำให้เกิดโรคปริทันต์ลงสู่กระดูกเบ้าฟัน ผลคือทำให้กระดูกเบ้าฟันละลาย ทำให้ร่องเหงือกลึกลงไปเรื่อยๆ ส่งผลให้ฟันเริ่มโยกและก่อให้เกิดหนองในร่องปริทันต์ ทำให้รู้สึกเจ็บเหงือกและอาจมีอาการปวดเมื่อเคาะที่ตัวฟัน ถ้าปล่อยทิ้งไว้ไม่ทำการรักษา เหงือกและกระดูกเบ้าฟันจะถูกทำลายลงเรื่อยๆ จนในที่สุดก็อาจจะต้องสูญเสียฟันซี่นั้นไป เนื่องจากสูญเสียอวัยวะรอบฟันที่ช่วยในการยึดเกาะฟันไว้กับขากรรไกร
ซึ่งเมื่อใช้ทั้ง 3 องค์ประกอบนี้อย่างลงตัวแล้วจะทำให้ได้รักษาได้เร็วมากขึ้น พบทันตแพทย์น้อยครั้งลง รู้สึกได้ถึงความสบายที่มากขึ้น และยังได้รับผลการรักษาที่น่าพึงพอใจอีกด้วย

สัญญาณของโรคเหงือก

ทันตกรรมโรคเหงือก

สัญญาณของโรคเหงือก

โรคเหงือกสามารถเกิดได้กับคนทุกวัย แต่จะพบมากในวัยผู้ใหญ่ ถ้าตรวจพบตั้งแต่ระยะแรกเริ่ม ก็จะสามารถรักษาให้เหงือกกลับมาแข็งแรงดังเดิมได้ หากคุณมีอาการดังต่อไปนี้ ควรรีบไปพบทันตแพทย์โดยด่วน

  • มีภาวะเหงือกแดง หรือ บวม 
  • อาการเลือดออกขณะแปรงฟัน หรือใช้ไหมขัดฟัน
  • ฟันดูยาวมากขึ้นจากปกติที่เคยเป็น เนื่องจากเหงือกร่นลงมา
  • มีร่องระหว่างตัวฟันกับเหงือก
  • เมื่อเคี้ยวอาหารแล้วฟันไม่สบฟันกันเหมือนเดิม
  • มีหนองไหลออกมาจากบริเวณฟันและเหงือก
  • มีกลิ่นปากรุนแรง โดยที่ไม่พบว่ามีฟันผุ

เริ่มต้นการรักษาทันตกรรมโรคเหงือก

ขั้นตอนการรักษาโรคเหงือก

  1. การรักษาจะต้องมีการขูดหินปูน และเกลารากฟัน (root planing) ร่วมด้วย โดยจะขูดหินปูนทั้งบนตัวฟันและส่วนที่อยู่บนผิวรากฟันภายในร่องปริทันต์ ส่วนการเกลารากฟันคือการทำให้ผิวรากฟันเรียบเพื่อให้เนื้อเยื่อเหงือกสามารถกลับมายึดแน่นติดกับผิวรากฟันได้เหมือนเดิม ซึ่งขั้นตอนนี้จะต้องทำซ้ำหลายๆ ครั้ง
  2. หลังจากรักษาเสร็จแล้วประมาณ 4-6 สัปดาห์ ทันตแพทย์จะเรียกกลับมาดูอาการอีกครั้งว่าหายดีหรือไม่ ถ้ายังมีร่องลึกปริทันต์เหลืออยู่หรือมีการละลายของกระดูกไปมาก อาจจำเป็นต้องใช้วิธีผ่าตัดเหงือก (Periodontal Surgery) ร่วมด้วย
  3. ท่านจะต้องทำความสะอาดฟันและซอกฟันอย่างถูกวิธีและสม่ำเสมอด้วยตนเอง อย่างน้อยจะต้องใช้แปรงและไหมขัดฟันทุกวันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เพื่อที่จะขจัดคราบจุลินทรีย์ให้หมดทุกวัน
  4. พบทันตแพทย์ทุก 6 เดือน เพื่อตรวจดูว่ามีคราบจุลินทรีย์และหินปูนหลงเหลือจากการทำความสะอาดเองหรือไม่ เพื่อที่จะได้รับการรักษาในระยะแรก

“เราจะป้องกันโรคเหงือกได้อย่างไร”

การดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันที่ดีเป็นสิ่งสำคัญ การทำความสะอาดโดยผู้เชี่ยวชาญก็เป็นสิ่งสำคัญเช่นกัน เมื่อมีการสะสมตัวของคราบแบคทีเรียที่มากและแข็งจนกลายเป็นหินปูน มีเพียงทันตแพทย์เท่านั้นที่จะขจัดออกได้ แต่เราสามารถป้องกันโรคเหงือกอักเสบด้วยตัวเองได้โดย

  • การแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันอย่างถูกวิธีเพื่อขจัดคราบแบคทีเรียไม่ให้สะสม
  • การรับประทานอาหารที่ถูกโภชนาการสำหรับฟันและกระดูก
  • การหลีกเลี่ยงบุหรี่ และยาสูบ
  • การพบทันตแพทย์เป็นประจำทุกๆ 6 เดือน

คำถามที่พบบ่อย : ทันตกรรมโรคเหงือก

Q : โรคเหงือกอักเสบคืออะไร

A : โรคเหงือกเป็นโรคที่เกิดขึ้นจากการอักเสบติดเชื้อของเหงือก ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อกระดูกและเนื้อเยื่อปริทันต์รอบๆตัวฟันและรากฟัน ที่ทำหน้าที่ช่วยพยุงฟัน ซึ่งอาการเหล่านี้จะทำให้เกิดอาการฟันโยก ฟันหลุด มีกลิ่นปาก หรือถูกถอนฟันออกในที่สุด

Q : เราจะรู้ว่าเป็นโรคเหงือกอักเสบได้อย่างไร

A : อาการที่พบมากในโรคนี้คือ การบวมแดงของเหงือก อาจมีเลือดออกขณะแปรงฟัน เหงือกร่นจากตัวฟันทำให้ฟันยาวขึ้น เหงือกบวม โรคเหงือกอักเสบและเหงือกร่น สามารถทำให้เกิดช่องว่างระหว่างเหงือกกับฟันซึ่งเป็นที่สะสมของหินปูนและเศษอาหารได้ บางรายอาจมีกลิ่นปากหรือมีรสแปลกๆ ในปาก

Q : เราจะป้องกันโรคเหงือกได้อย่างไร

A : เราสามารถป้องกันโรคเหงือกอักเสบด้วยตัวเองได้โดย

  • การแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันอย่างถูกวิธีเพื่อขจัดคราบแบคทีเรียไม่ให้สะสม
  • การรับประทานอาหารที่ถูกโภชนาการสำหรับฟันและกระดูก
  • การหลีกเลี่ยงบุหรี่ และยาสูบ
  • การพบทันตแพทย์เป็นประจำทุกๆ 6 เดือน

โรคเหงือกคืออะไร

โรคเหงือกเป็นโรคที่เกิดขึ้นจากการอักเสบติดเชื้อของเหงือก ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อกระดูก และเนื้อเยื่อปริทันต์รอบๆ ที่ช่วยพยุงฟัน โรคเหงือกนี้เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่เกิดจากคราบพลัค (แผ่นคราบจุลินทรีย์ซึ่งมีลักษณะเหมือนแผ่นฟิล์มเหนียวไร้สีที่ค่อยๆ เกาะรวมตัวกันบนผิวฟัน) ถ้าการแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันไม่ถูกวิธีและไม่สามารถขจัดคราบพลัคออกได้หมด คราบพลัคจะเริ่มก่อตัวขึ้น และสร้างเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดการอักเสบของเหงือกและฟัน รวมถึงเนื้อเยื่อเหงือกและกระดูกที่ช่วยพยุงฟัน ซึ่งอาการเหล่านี้จะทำให้เกิดอาการฟันโยก ฟันหลุด หรือถูกถอนฟันออกในที่สุด

สาเหตุของโรคเหงือก

ทันตกรรมโรคเหงือก

สาเหตุของโรคเหงือก

สาเหตุเบื้องต้น คือ เชื้อแบคทีเรียบางชนิดที่มีอยู่ในช่องปากซึ่งเจริญเติบโตเพิ่มจำนวนขึ้นในสภาวะที่เหมาะสม กล่าวคือการมีคราบอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาลที่เกาะบนผิวฟัน และจากการที่เราทำความสะอาดฟันไม่ดีพอ ทำให้คราบอาหารเหล่านี้กลายเป็นอาหารของแบคทีเรีย ทำให้แบคทีเรียเจริญเติบโตและเพิ่มจำนวนขึ้นแผ่กระจายไปบนผิวฟัน ที่เราเรียกกันว่า แผ่นคราบจุลินทรีย์ แบคทีเรียพวกนี้เมื่อมีการบริโภคอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาลเข้าไปจะปล่อยกรดและสารพิษออกมา เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาการอักเสบ ผลคือทำให้เหงือกบวมแดงอักเสบและมีเลือดออก ทำให้เกิดการทำลายอวัยวะปริทันต์ แผ่นคราบจุลินทรีย์ไม่เพียงแต่จะมีอยู่แค่บนตัวฟันที่อยู่เหนือขอบเหงือกเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นในส่วนใต้ขอบเหงือกที่เรามองไม่เห็นด้วย ส่วนนี้เองที่ทำให้เกิดโรคปริทันต์ลงสู่กระดูกเบ้าฟัน ผลคือทำให้กระดูกเบ้าฟันละลาย ทำให้ร่องเหงือกลึกลงไปเรื่อยๆ ส่งผลให้ฟันเริ่มโยกและก่อให้เกิดหนองในร่องปริทันต์ ทำให้รู้สึกเจ็บเหงือกและอาจมีอาการปวดเมื่อเคาะที่ตัวฟัน ถ้าปล่อยทิ้งไว้ไม่ทำการรักษา เหงือกและกระดูกเบ้าฟันจะถูกทำลายลงเรื่อยๆ จนในที่สุดก็อาจจะต้องสูญเสียฟันซี่นั้นไป เนื่องจากสูญเสียอวัยวะรอบฟันที่ช่วยในการยึดเกาะฟันไว้กับขากรรไกร
ซึ่งเมื่อใช้ทั้ง 3 องค์ประกอบนี้อย่างลงตัวแล้วจะทำให้ได้รักษาได้เร็วมากขึ้น พบทันตแพทย์น้อยครั้งลง รู้สึกได้ถึงความสบายที่มากขึ้น และยังได้รับผลการรักษาที่น่าพึงพอใจอีกด้วย

สัญญาณของโรคเหงือก

ทันตกรรมโรคเหงือก

สัญญาณของโรคเหงือก

โรคเหงือกสามารถเกิดได้กับคนทุกวัย แต่จะพบมากในวัยผู้ใหญ่ ถ้าตรวจพบตั้งแต่ระยะแรกเริ่ม ก็จะสามารถรักษาให้เหงือกกลับมาแข็งแรงดังเดิมได้ หากคุณมีอาการดังต่อไปนี้ ควรรีบไปพบทันตแพทย์โดยด่วน

  • มีภาวะเหงือกแดง หรือ บวม 
  • อาการเลือดออกขณะแปรงฟัน หรือใช้ไหมขัดฟัน
  • ฟันดูยาวมากขึ้นจากปกติที่เคยเป็น เนื่องจากเหงือกร่นลงมา
  • มีร่องระหว่างตัวฟันกับเหงือก
  • เมื่อเคี้ยวอาหารแล้วฟันไม่สบฟันกันเหมือนเดิม
  • มีหนองไหลออกมาจากบริเวณฟันและเหงือก
  • มีกลิ่นปากรุนแรง โดยที่ไม่พบว่ามีฟันผุ

เริ่มต้นการรักษาทันตกรรมโรคเหงือก

ขั้นตอนการรักษาโรคเหงือก

  1. การรักษาจะต้องมีการขูดหินปูน และเกลารากฟัน (root planing) ร่วมด้วย โดยจะขูดหินปูนทั้งบนตัวฟันและส่วนที่อยู่บนผิวรากฟันภายในร่องปริทันต์ ส่วนการเกลารากฟันคือการทำให้ผิวรากฟันเรียบเพื่อให้เนื้อเยื่อเหงือกสามารถกลับมายึดแน่นติดกับผิวรากฟันได้เหมือนเดิม ซึ่งขั้นตอนนี้จะต้องทำซ้ำหลายๆ ครั้ง
  2. หลังจากรักษาเสร็จแล้วประมาณ 4-6 สัปดาห์ ทันตแพทย์จะเรียกกลับมาดูอาการอีกครั้งว่าหายดีหรือไม่ ถ้ายังมีร่องลึกปริทันต์เหลืออยู่หรือมีการละลายของกระดูกไปมาก อาจจำเป็นต้องใช้วิธีผ่าตัดเหงือก (Periodontal Surgery) ร่วมด้วย
  3. ท่านจะต้องทำความสะอาดฟันและซอกฟันอย่างถูกวิธีและสม่ำเสมอด้วยตนเอง อย่างน้อยจะต้องใช้แปรงและไหมขัดฟันทุกวันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เพื่อที่จะขจัดคราบจุลินทรีย์ให้หมดทุกวัน
  4. พบทันตแพทย์ทุก 6 เดือน เพื่อตรวจดูว่ามีคราบจุลินทรีย์และหินปูนหลงเหลือจากการทำความสะอาดเองหรือไม่ เพื่อที่จะได้รับการรักษาในระยะแรก

“เราจะป้องกันโรคเหงือกได้อย่างไร”

การดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันที่ดีเป็นสิ่งสำคัญ การทำความสะอาดโดยผู้เชี่ยวชาญก็เป็นสิ่งสำคัญเช่นกัน เมื่อมีการสะสมตัวของคราบแบคทีเรียที่มากและแข็งจนกลายเป็นหินปูน มีเพียงทันตแพทย์เท่านั้นที่จะขจัดออกได้ แต่เราสามารถป้องกันโรคเหงือกอักเสบด้วยตัวเองได้โดย

  • การแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันอย่างถูกวิธีเพื่อขจัดคราบแบคทีเรียไม่ให้สะสม
  • การรับประทานอาหารที่ถูกโภชนาการสำหรับฟันและกระดูก
  • การหลีกเลี่ยงบุหรี่ และยาสูบ
  • การพบทันตแพทย์เป็นประจำทุกๆ 6 เดือน

คำถามที่พบบ่อย : ทันตกรรมโรคเหงือก

Q : โรคเหงือกอักเสบคืออะไร

A : โรคเหงือกเป็นโรคที่เกิดขึ้นจากการอักเสบติดเชื้อของเหงือก ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อกระดูกและเนื้อเยื่อปริทันต์รอบๆตัวฟันและรากฟัน ที่ทำหน้าที่ช่วยพยุงฟัน ซึ่งอาการเหล่านี้จะทำให้เกิดอาการฟันโยก ฟันหลุด มีกลิ่นปาก หรือถูกถอนฟันออกในที่สุด

Q : เราจะรู้ว่าเป็นโรคเหงือกอักเสบได้อย่างไร

A : อาการที่พบมากในโรคนี้คือ การบวมแดงของเหงือก อาจมีเลือดออกขณะแปรงฟัน เหงือกร่นจากตัวฟันทำให้ฟันยาวขึ้น เหงือกบวม โรคเหงือกอักเสบและเหงือกร่น สามารถทำให้เกิดช่องว่างระหว่างเหงือกกับฟันซึ่งเป็นที่สะสมของหินปูนและเศษอาหารได้ บางรายอาจมีกลิ่นปากหรือมีรสแปลกๆ ในปาก

Q : เราจะป้องกันโรคเหงือกได้อย่างไร

A : เราสามารถป้องกันโรคเหงือกอักเสบด้วยตัวเองได้โดย

  • การแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันอย่างถูกวิธีเพื่อขจัดคราบแบคทีเรียไม่ให้สะสม
  • การรับประทานอาหารที่ถูกโภชนาการสำหรับฟันและกระดูก
  • การหลีกเลี่ยงบุหรี่ และยาสูบ
  • การพบทันตแพทย์เป็นประจำทุกๆ 6 เดือน

สำหรับผู้ที่สนใจการจัดฟัน และการทันตกรรมเพื่อความงามในราคาสมเหตุสมผล คลินิกทันตกรรม Denta-joy คือผู้เชี่ยวชาญด้านนี้โดยเฉพาะ เราพร้อมให้คำปรึกษาและรักษาโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่

Line Official: @dentajoy
โทร 095-491-8659